ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ADSLADSL ブロードバンドインターネット

เรื่องที่ประธานบริษัทของผู้ให้ใช้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตรายใหญ่ในญี่ปุ่นกล่าวว่า “ในปีก่อนหน้านี้ โครงสร้างพื้นฐานสังคมทางด้านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงของญี่้ปุ่นนั้น ด้อยกว่าประเทศอื่น แต่ตอนนี้ได้พัฺฺฒนาจนเป็นอันดับ 1 ในโลกไปแล้ว” เราคิดว่าอาจจะเป็นจริงตามนั้น
先日、ブロードバンドインターネットサービスプロバイダー国内最大手の社長が「日本はブロードバンドインフラで出遅れていると言われていたが、今や世界一の水準にある」と声高に主張していたけれど、それは事実かもしれない。

เมื่อคืนนี้มีคนญี่ปุ่นคนหนึ่งแนะนำเราว่า ที่ชั้น 2 ของตึก Times Square ซึ่งห่างจากสถานีรถไฟฟ้าอโศก เดินไปประมาณ 3 นาที มีร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ของคนเกาหลีที่สามารถใช้ระบบสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ADSL ได้ ซึ่งสามารถนำคอมพิวเตอร์ส่วนตัวเข้าไปใช้ได้ด้วย ดังนั้นคืนนี้ ผมไปร้านดังกล่าวกับเพื่อน เพื่อที่จะโหลดโปรแกรมอะไรบางอย่าง แต่แล้วการโหลดโปรแกรมของผม ทำให้ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของร้านค่อนข้างช้าไปด้วยจนพนักงานดูแลระบบเข้ามาเตือนเลย แต่หลังจากเจรจากับเขาแล้ว ก็ได้รับอนุญาตเป็นพิเศษว่าให้โหลดโปรแกรมได้แต่ต้องหลัง 5 ทุ่มเท่านั้น พนักงานคนเดิมยังบอกอีกว่า ตอนเริ่มกิจกรรมของร้านนี้ ความเร็ว ADSL เป็น 1 เมกาไบต์ต่อวินาที แต่ตอนนี้ลดลงเป็น 512 กิโลไบต์ต่อวินาทีแล้ว ส่วนอัคราค่าใช้บริการ นาทีละ 1 บาท นอกจากนี้แล้วยังมีโปรโมชั่นพิเศษ เล่นได้ 20 ชั่วโมง ในราคา 600 บาท
高架電車アソーク駅から徒歩3分のタイムズスクウェアの2階に、高速インターネット ADSL が使えて個人のパソコンを持ち込め韓国人経営の店があると、昨晩、友人に教えてもらった。そこで今晩、とあるソフトウエアをダウンロードするために友人とその店へ行った。ところが店のインターネット回線に過大な負荷を与えていると店員から注意されたので、交渉してみたところ、午後11時以降ならソフトウェアをダウンロードしても良いと特別に許可された。従業員によると、開店当初の通信速度は1Mbpsだったけれど、いまは512Kbpsしかないという。利用料金は1分1バーツ。20時間600バーツの割引プランもある。

ผมก็เลยนึกว่า จะทำสัญญากับผู้ให้ใช้้บริการอินเตอร์เน็ตโดยตรงดีกว่าจะได้เล่นเน็ต ADSL ที่ห้องของผมเลย จึงเข้าไปหาข้อมูล ที่เว็บไซต์ของบริษัทต่าง ๆ
そこで、自分の部屋で ADSL インターネットを使うために直接プロバイダと契約したほうが良いと考え、いろいろな会社のホームページから情報を集めてみた。。

โดยข้อมูลของเว็บไซต์แล้ว บริษัท ซี.เอส. คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด คือผู้ให้บริการเครื่อข่ายอินเตอร์เน็ตรายใหญ่แห่งหนึ่งในประเทศไทย ได้มีการจัดโปรโมชั่นพิเศษ สำหรับลูกค่าโดยคิดอัตราค่าบริการในระบบ ADSL 128 กิโลไบต์ต่อวินาที 6,000 บาท และระบบ ADSL 256 กิโลไบต์ต่อวินาที 11,000 บาทต่อเดือน แต่มันเร็วกว่า ISDN ของญี่ปุ่นแค่นิดเดียวเอง ผมก็เลยไม่อยากเสียเงินกับระบบแบบนี้เดือนละ 40,000 เยน ผมเลยไม่สมัครแล้ว
ホームページの情報によると、タイ大手インターネットプロバイダのひとつ「 CS インターネット」の料金プランでは、256Kbpsが月額11,000バーツ、128Kbpsでも600バーツだった。日本のISDNに毛が生えた程度の速度しか出ないインターネット環境のために月々4万円も使いたくないのでやめておいた。

http://www.cscoms.com/th/product/adsl_service.html

นอกจากนี้ เมื่อเปรียบเทียบความเร็วในการโหลดโปรแกรมด้วยใช้โปรแกรมแลกเปลี่ยนโปรแกรมของระบบ ADSL ของอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ กับ ระบบ Dial-up ของบัานผมแล้ว ต่างกันวินาทีละ 37.2 กิโลไบต์ ต่อ วินาทีละ 6.2 กิโลไบต์ ก็ต่างกันแค่ 6 เท่าเอง ซึ่งผมว่าก็น่าจะใช้ได้ เพราะถ้าโหลดโปรแกรม CD 1แผ่นก็ต้องใช้เวลาประมา๊ณ 95 ชั่วโมง
なお、ファイル交換ソフトの通信速度は、インターネットカフェのADSL回線で37.2Kbps、自宅のダイアルアップ接続37.2Kbpsのたった6倍しか違わない。その程度ならなんとか我慢できそうだ。どうせCDを1枚ダウンロードに95時間もかかる。

ที่ลอสแองเจลิสก็เราอาจได้ใช้บริการ ADSL ความเร็ว 512 กิโลไบต์เหมือนกัน เพราะฉะนั้นสิ่งนี้จึงแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงของญี่ปุ่นเป็นระบบพื้นฐานสังคมที่ดีเด่นเป็นพิเศษอย่างเขาบอกมาก่อน
ロサンゼルスで使っていたADSL回線は512Kbpsだったから、日本のブロードバンドインターネットは冒頭の社長が言っていたとおりほかの追随を許さない驚異的な社会基盤なのかもしれない。

ขณะเดียวกันก็ช่วยสอนภาษาญี่ปุ่นให้กับเพื่อนคนหนึ่งในกลุ่มเพื่อนผู้ชายกลุ่มเล็ก ๆ ของเรา ซึ่งจบมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญแล้วเคยทำงานที่บริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย เพราะว่าเขาจะเตรียมสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นระดับ 2
きょうは、インターネットカフェでソフトウェアをダウンロードしながら、数少ない男友達であるアサンプション大学経営学部を卒業した友人の日本語検定試験2級の試験対策に協力した。

ABOUT US

ケイイチ
バンコク留学生日記の筆者。タイ国立チュラロンコーン大学文学部のタイ語集中講座、インテンシブタイ・プログラムを修了(2003年)。同大学の大学院で東南アジア学を専攻。文学修士(2006年)。現在は機械メーカーで労働組合の執行委員長を務めるかたわら、海外拠点向けの輸出貿易を担当。