タイの賜姓

タイ人は一生のあいだに何度でも自由に姓名を変更することができる。そのほとんどは宗教上の理由から変更されるが、過去の犯罪歴を葬り去るために変更するというケースもあるため、タイ国内で就職するときには姓名変更証明書の提出を求められることがある。

ここのところ、日本人の友人たちのあいだでタイ人の姓に対する関心が高まっている。きっかけは、日本人の友人が爵位を持っているタイ人女性と結婚したことで、このことをタイに詳しい友人たちに聞いて回ったところ高架電車サヤーム駅前にある複合商業施設Siam Center3階の書店SE-Educationにタイの姓名辞典があると聞いてさっそく買ってみた。

นามสกุลพระราชทาน ๖,๔๓๒ สกุล(賜姓6,432種)

รวบรวมโดย เทพ สุนทรศารทูล
テープ・スントーンサーラトゥーン編
ISBN 974-8338-60-6
ผู้จัดจำหน่าย: สายส่ง ดวงแก้ว โทร. ๐-๒๔๖๔-๓๔๓๔
販売者: サーイソング・ドゥワングゲーオ 電話番号 0-2464-3434

タイにおける氏姓制度の成り立ちとタイ人の認識について、この本の前書きに興味深い解説があったので紹介したい。

คำนำ
前書き

ข้าพเจ้าเป็นคนประเภทอนุรักษ์นิยม คือพวกรักของเก่าอยากศึกษาเอาไว้ อยากให้คนรุ่นลูกหลานรู้เรื่องของเก่าแก่แต่โบราณ
私は保護主義者である。古きものを愛する者として研究を重ね、古きものを子の世代へ受け継い行くことを願っている。

เรื่องนามสกุลพระราชทานนี้ ก็เป็นเรื่องโบราณอย่างหนึ่งคนไทยรุ่นใหม่อาจจะไม่รู้ว่า
賜姓はタイ史の一部だが、おそらく若者たちは知らないだろう。

  • คนไทยก่อน พ.ศ. ๒๔๕๔ ไม่มีนามสกุล
    仏教歴2454年(西暦1911年)以前、タイ人には名字がなかった。
  • พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ได้ออกพระราชบัญญัติขนานชื่อนามสกุลไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖
    仏教歴2456年(西暦1913年)、プラモングットグラーオ(モングット王)が姓名法を発布した。
  • แล้วพระราชทานชื่อนามสกุลให้แก่ข้าราชการ พ่อค้าที่ขอพระราชทานชื่อนามสกุล เรียกว่านามสกุลพระราชทาน มีนามสกุลพระราชทานถึง ๖,๔๓๒ สกุล
    その後、賜姓を希望する官吏や商人に対して6,432種にのぼる姓が下賜された。
  • นามสกุลพระราชทานนั้น พระราชทานให้แต่ใคร เมื่อไร เขียนเป็นอักษรไทยว่าอย่างไร เขียนเป็นอักษรโรมันว่าอย่างไร ทรงทำทะเบียนไว้หมดทุกนามสกุล
    すべての賜姓は、日付とともにその氏名の表記法がタイ語とローマ字で記録された。
  • นามสกุลพระราชทานนี้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่เท่าไร มีผลใช้ได้เมื่อไร มีหลักฐานปรากฏอยู่ทั้งหมด
    すべての賜姓は、官報の告知日や施行日などが史料として残されている。
  • นามสกุลนั้นมีความหมายว่าอย่างไร เช่นนามสกุลบุนนาค หมายถึงชื่อ นายบุนนาค ต้นสกุล นามสกุล สุนทรศารทูล หมายถึง นายเสือ ตันสกุลที่มีชื่อเสียงในวงศ์สกุล
    姓の意味、たとえばブンナークという姓は最初に名乗った人物の名、スントーンサーラトゥーンという姓は一族で最も名の知れているスアに由来している。

เรื่องดังกล่าวมาทั้ง ๖ ข้อนี้ นับวันแต่จะไม่มีใครรู้แม้แต่คนในสกุลเอง บางคนยังเขียนนามสกุลตนเองไม่ถูก
上記の6項目で述べたようなことは、時間の経過とともにその姓を名乗る人々からも忘れ去られ、自らの姓を正しく綴れない人も出てくるだろう。

ข้าพเจ้าเป็นนักศึกษา จึงค้นคว้าศึกษาทราบมาโดยละเดียด จึงมีความคิดเผื่อแผ่อยากจะให้คนในวงศ์ตระกูลทราบหรือคนอื่น ๆ ทราบด้วย จึงได้เขียนและพิมพ์เผยแพร่ออกสู่สาธารณชน เป็นเรื่องน่ารู้ในปัจจุบันและอนาคตอันไม่สิ้นสุด จึงมอบให้สำนักพิมพ์ สาทรรมิก พิมพ์ออกเผยแพร่โดยแน่ใจ ๑๐๐% ว่าเป็นประโยชน์ และเป็นที่สนใจของมหาชนคนไทย แม้คนต่างชาติที่อยู่ในและนอกประเทศ
私は学生として詳細にわたって学習し、姓について一族やそれ以外の人たちに広く知らせたいと願い、現在と後世の人々にとって興味深いトピックとして執筆し世に送り出す。タイの人民のみならず国外にいる外国人にとっても興味深く有意義なものとして100%の自信を持って発表する。

หนังสืออย่างนี้ แม้ค่าพิมพ์จะแพงและต้องขายราคาแพงก็เป็นหนังสือดีทีค่ากว่าราคาหนังสือและไม่ใคร่มีใครเขียนขึ้น เพราะหากำไรเป็นเงินทองไม่ได้นอกจากกำไรเป็นธรรมทาน ข้าพเจ้าจึงขอขอบใจสำนักพิมพ์ ดวงแก้ว ที่พิมพ์หนังสือนี้ออกจำหน่ายจ่ายแจกเผยแพร่ ไม่ใช่เพื่อชื่อเสียงของคนเขียน แต่เป็นชื่อเสียงของสำนักพิมพ์ชั่วกาบนาน นับร้อยปี
このような文献は、たとえ印刷費用が嵩もうが、販売価格が高かろうが、それ以上の価値がある。ところが、社会貢献になると以外に、金銭的な利益が得られないため書き手がいない。そこで私は本書を出版元であるドゥワングゲーオ出版に御礼申し上げる。おそらく本書は編者の名声にはならないが、出版社の功績として何百年もの歳月に渡って讃えられ続けるだろう。

เทพ สุนทรศารทูล
テープ・スゥントーンサーラトゥーン

付録として20条からなる姓名法も掲載されている。姓名法はすべてのタイ国民に姓を名乗ることを義務づけるもので、夫婦同姓や氏姓相続などについて定めており、賜姓やすでに使われている有力者の姓を名乗ることを禁じている。

現在のタイ王国において貴族制はすでに過去のものとなっているが、旧貴族は今でも賜姓を名乗り続けており、なかには地名を名乗っているものもあって興味深い。今回は旧地方領主のチアングマイ、ローイエット、ガーラスィンの三家について注目してみたい。ちなみに、例外的に地名の前に名字が併記される各グルングテープ家は、仏教歴2469年の勅令で名字に併記される地名を「アユッタヤー」に変更されている。

  • ๑๑๖๐ เจ้าแก้วนวรัฐ (เจ้าแก้ว) เจ้าผู้ครองนครเมืองเชียงใหม่ พระราชทานนามสกุลว่า ณ เชียงใหม่ (na Chiengmai)
    1160 チェンマイ領主ヂャーオ・ゲーオナワラット(ヂャーオゲーオ)に「ナ・チアングマイ」の姓を下賜する。
  • ๑๑๔๙ พระยาขัติยะวงษา (เหลา) ผู้ว่าราชการเมืองร้อยเอ็จ พระราชทานนามสกุลว่า ณ ร้อยเอ็จ (na Roiech)
    1149 ローイエット県知事プラヤー・カティヤウォングサー(ラオ)に「ナ・ローイエット」の姓を下賜する。
  • ๑๑๗๐ พระยาไชยสุนทร (เก) กรมการพิเศษเมืองกาฬสินธุ์ พระราชทานนามสกุลว่า ณ กาฬสินธุ์ (na Kalasindhu)
    1170 ガーラシン県知事軍司令官プラヤー・チャイスゥントーン(ゲー)に「ナ・ガーラシン」の姓を下賜する。

この辞書の著者も賜姓を名乗るタイ人のひとりだ。もしかしたら古き良き先祖の時代に思いを馳せながらこの調査を続けたのかもしれない。

夜、高架電車プローンポング駅前にある日本料理店「新潟」で日本人の友人とこの辞書を開きながらタイの政財界における有力者の名字を見つけては一喜一憂していたところ、遠巻きに見ていたタイ人の店員達が怪訝な顔をしながら話しかけてきた。

「このタイ語、あなた達は読めるの?」

この本の重々しい装丁を見ていると、たとえタイ人とはいえ身構えてしまうのかもしれない。

今日は午後の「タイ史博物館論」に出席した。

ABOUT US

ケイイチ
バンコク留学生日記の筆者。タイ国立チュラロンコーン大学文学部のタイ語集中講座、インテンシブタイ・プログラムを修了(2003年)。同大学の大学院で東南アジア学を専攻。文学修士(2006年)。現在は機械メーカーで労働組合の執行委員長を務めるかたわら、海外拠点向けの輸出貿易を担当。